หลักการและเหตุผล : เนื่องจากศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีภาระกิจในการให้บริการด้านอุตุนิยมวิทยา แผ่นดินไหวและภัยธรรมชาติ ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 9 จังหวัด รวมทั้งการพัฒนางานด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคประชาชน จัดเป็นภารกิจที่สำคัญถูกกำหนดไว้ในแผนยุทธศาสตร์ของศูนย์ฯ ดังนั้น เพื่อให้การพัฒนางานด้านความร่วมมือระหว่างหน่วยงานและภาคประชาชน ของศูนย์ฯ มีความเข้มแข็งมากขึ้นและสำเร็จลุล่วงไปด้วยดีตามแผนยุทธศาสตร์ของศูนย์ฯ และเพื่อให้การบริการและส่งเสริมการสร้างเครือข่ายเข้าถึงพื้นที่ จึงได้เกิดโครงการนี้ขึ้นมา
เป้าหมาย : ประชาชนให้ความสำคัญ สนใจและเข้าใจ ข่าวพยากรณ์อากาศมากขึ้น
ผู้เข้าร่วมโครงการ : ประชาชนในชุมชนพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ทั้งหมด 9 จังหวัด
จังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ มุกดาหาร ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์ อำนาจเจริญ และอุบลราชธานี
ผู้รับผิดชอบโครงการ : ผู้อำนวยการศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายสิทธิพงษ์ พลชัย นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.กุดชุม จ.ยโสธร
ณ วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2559 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายปัญญา สิงห์กาล นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.คำเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร
ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2560 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายบุญเรือง พุทธบุตร นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายเอี่ยม สมเพ็ง นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.มหาชนะชัย จ.ยโสธร
ณ วันที่ 5 เมษายน 2559 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายวิจิตร สิงห์กาล นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.เลิงนกทา จ.ยโสธร
ณ วันที่ 18 กุมภาพันธ์ 2559 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายสุรชาติ แก้วชัยพาน นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.อุทุมพรพิสัย จ.ศรีสะเกษ
ณ วันที่ 20 กันยายน 2560 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายบุญช่วย พูนผล นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.จอมพระ จ.สุรินทร์
ณ วันที่ 1 ธันวาคม 2560 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายวาสนา อภัยโคตร นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.เดชอุดม จ.อุบลราชธานี
ณ วันที่ 19 มิถุนายน 2561 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นางศศิธร ปัญญาจิตร นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชนโรงเรียนบ้านโคกพระเจ้าโนนรัง อ.ป่าติ้ว จ.ยโสธร
ณ วันที่ 30 มกราคม 2562 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายสมอาจ คงสืบชาติ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 ณ ที่ทำการ สถาบันการเงินบ้านหนองใหญ่ หมู่ 3 ตำบลหนองปล่อง อำเภอชำนิ จังหวัดบุรีรัมย์ นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.ชำนิ จ.บุรีรัมย์ โดยกลุ่ม นาแปลงใหญ่ มีจำนวนสมาชิกประมาณ 101 คน
ณ วันที่ 29 มกราคม 2562 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายหนูหรั่ง ชาติแก้ว ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ณ ที่ทำการ บ้านเลขที่ 7 หมู่ 4 บ้านสองพี่น้อง ตำบลบึงนคร อำเภอธวัชบุรี จังหวัดร้อยเอ็ด นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.ธวัชบุรี จ.ร้อยเอ็ด โดยกลุ่ม นาแปลงใหญ่ มีจำนวนสมาชิกประมาณ 171 คน
ณ วันที่ 29 มกราคม 2562 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายวิโรจน์ นานอก ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 12 ณ ที่ทำการ กองทุนหมู่บ้านหนองบง หมู่ 12 ตำบลเมืองคง อำเภอคง จังหวัดนครราชสีมา นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.คง จ.นครราชสีมา โดยกลุ่ม นาแปลงเล็ก มีจำนวนสมาชิกประมาณ 33 คน
ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นางกัญญาภัทณ์ พังคี นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.เมือง จ.มุกดาหาร โดยกลุ่ม วิสาหกิจชุมชน กลุ่มอนุรักษ์เลี้ยงโคกระบือในพระราชดำริบ้านพังคอง หมู่ 10 มีจำนวนสมาชิกประมาณ 64 คน
ณ วันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2562 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
กับ นายประจิต มรกตเขียว นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.ลืออำนาจ จ.อำนาจเจริญ โดยกลุ่ม นาแปลงใหญ่ มีจำนวนสมาชิกประมาณ 229 คน
ณ วันที่ 25 กรกฎาคม 2567 ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ได้จัดทำบันทึกความเข้าใจ (MOU)
ณ กลุ่มแปลงใหญ่ทุเรียนภูเขาไฟ บ้านซำขี้เหล็ก ตำบลพราน อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ นำมาซึ่งการสร้างเครือข่ายอุตุนิยมวิทยาภาคประชาชน อ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ